ความเชี่ยวชาญ
หทัยวิทยา ศัลยกรรมเสริมความงาม การวินิจฉัยโรค เวชศาสตร์ครอบครัว นรีเวชศาสตร์ การดูแลการตั้งครรภ์ เวชศาสตร์การกีฬา
โรคบางอย่างที่ทำการรักษา
เบาหวาน, โรคหัวใจ, ความดันโลหิตสูง, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหลอดเลือดปอดอุดตัน, โรคหัวใจล้มเหลว, อาการเต้นของหัวใจผิดปกติ, โรคหลอดเลือดแดงแข็ง, โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด, โรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง, โรคหลอดเลือดส่วนปลาย, โรคกล้ามเนื้อหัวใจ, โรคลิ้นหัวใจ, ลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำลึก, หลอดเลือดดำโป่งขด, แผลไฟไหม้, โลหิตจาง, มะเร็ง, โรคตับแข็ง, โรคลำไส้อักเสบ, ไข้เลือดออก, โรคทางเดินอาหาร, ไข้, โรคตับอักเสบ, เอชไอวี/เอดส์, โรคไต, โรคตับ, มาลาเรีย, คลื่นไส้, โรคกระดูกพรุน, โรคปอดอักเสบ, โรคไทรอยด์, วัณโรค, การติดเชื้อไวรัส, อาการอ่อนแรง, โรคเซลิแอค, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, โรคถุงน้ำดี, โรคถุงลมในลำไส้, อาการแพ้, ความวิตกกังวล, โรคหอบหืด, ปวดหลัง, การติดเชื้อแบคทีเรีย, อาการปวดเรื้อรัง, ไอ, โรคลมชัก, โรคตา, ไข้หวัดใหญ่, นอนไม่หลับ, โรคทางจิตเวช, ไมเกรน, โรคอ้วน, โรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนใจ, โรคสะเก็ดเงิน, โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์, โรคผิวหนัง, การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ, โรคอ่อนเพลียเรื้อรัง, โรคภูมิแพ้จมูกอักเสบ, โรคไซนัสอักเสบเรื้อรัง, โรคอารมณ์แปรปรวนตามฤดูกาล, ปวดศีรษะจากความเครียด, โรคอุ้งเชิงกรานกดทับ, โรคเอ็นอักเสบ, ไฟโบรมัยอัลเจีย, โรคลูปัส, โรคเส้นประสาทอักเสบหลายจุด, โรคข้ออักเสบจากสะเก็ดเงิน, โรคผิวหนังแข็ง, โรคลูปัสระบบ, อาการสั่น, โรคไมอัสเทนิกา, โรคพาร์คินสัน, โรคขาอยู่ไม่สุข, โรคประสาท, อาการชัก, โรคอารมณ์สองขั้ว, โรคซึมเศร้า, โรควิตกกังวลที่มีลักษณะบังคับ, โรคซึมเศร้าหลังคลอด, โรคการกิน, โรคสมาธิสั้น, โรคออทิสติก, โรคจิตเภท, ภาวะสมองเสื่อม, ความบกพร่องในการเรียนรู้, โรคบุคลิกภาพ, โรควิตกกังวลทางสังคม, โรคแพนิค, โรคจิต, โรคที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารเสพติด, ความอ่อนเพลียเรื้อรัง, ไมเกรนเรื้อรัง, ความไม่สมดุลของฮอร์โมน, เนื้องอกรอบมดลูก, เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่, ซีสต์ในรังไข่, เนื้องอกในมดลูก, โรคประจำเดือน, ความผิดปกติทางเพศ, ภาวะมีบุตรยาก, ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ, ปวดเชิงกราน, ปัญหาต่อมลูกหมาก, อาการหมดประจำเดือน, การติดเชื้อในช่องคลอด, ภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์, ภาวะแทรกซ้อนในการคลอด, การตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง, ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์, เบาหวานขณะตั้งครรภ์, ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด, ปัญหาสุขภาพจิตมารดา, โรคอ้วนในเด็ก, ปัญหาทางโภชนาการในเด็ก, เบาหวานในเด็ก, การกลั่นแกล้ง, การใช้สารเสพติดในวัยรุ่น, โรคการกินในวัยรุ่น, โรคที่เกี่ยวข้องกับความเครียด, อาการแพ้ตามฤดูกาล, อาการแพ้เรื้อรัง, อาหารแพ้, อาการแพ้ลาเท็กซ์, อาการแพ้สัตว์เลี้ยง, อาการแพ้ยา, อาการแพ้จากการถูกแมลงกัด, อาการช็อกจากภูมิแพ้, โรคจมูกอักเสบ, โรคตาแดง, โรคเปลือกตาอักเสบ, อาการตาเมื่อยล้า, โรคต้อหิน, โรคต้อกระจก, โรคจอประสาทตาเสื่อม, โรคตาจากเบาหวาน, การหลุดลอกจอประสาทตา, การติดเชื้อในหู, อาการหูอื้อ, การสูญเสียการได้ยิน, การอักเสบของต่อมทอนซิล, การอักเสบของลำคอ, การอักเสบของกล่องเสียง, โรคหลอดลมอักเสบ, ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ, อาการหอบหืดกำเริบ, ปวดศีรษะจากไซนัส, ไข้หวัด, ไอเรื้อรัง, เจ็บคอ, โรคกรดไหลย้อน, นิ่วในถุงน้ำดี, โรคแผลในกระเพาะอาหาร, โรคลำไส้แปรปรวน, โรคริดสีดวงทวาร, อาการท้องผูก, อาการท้องเสีย, ภาวะไม่สามารถย่อยแลคโตส, โรคตับอักเสบชนิดเอ, โรคตับอักเสบชนิดบี, โรคตับอักเสบชนิดซี, โรคตับไขมันไม่เกี่ยวกับแอลกอฮอล์, มะเร็งตับ, โรคถุงน้ำดีอักเสบ, การมีเลือดออกในทางเดินอาหาร, อาการตัวเหลือง, โรคไตเรื้อรัง, นิ่วในไต, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, การติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ, โรคไตเนฟโรติก, การฟอกเลือด, โรคไตวาย, โรคหัวใจขาดเลือด, อาการขาดเลือดชั่วคราว, โรคเซลล์รูปเคียว, โรคธาลัสซีเมีย, โรคฮีโมฟีเลีย, โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว, โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง, โรคมะเร็งไขกระดูก, กลุ่มอาการผิดปกติของไขกระดูก, โลหิตจางจากโรคเรื้อรัง, โลหิตจางจากการขาดเหล็ก, โลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12, โลหิตจางจากการขาดกรดโฟลิก, โรคคุชชิ่ง, โรคอดิสัน, โรคเอโครเมกาลี, เบาหวานน้ำตาลไม่เข้มข้น, โรคไทรอยด์ทำงานเกิน, โรคไทรอยด์ทำงานต่ำ, โรคต่อมพาราไธรอยด์ทำงานเกิน, โรคต่อมพาราไธรอยด์ทำงานต่ำ, โรคฮอร์โมน, โรคข้อเสื่อม, โรคเกาต์, โรคไซอาติค, โรคกระดูกสันหลังคด, โรคแคบของกระดูกสันหลัง, โรคกระดูกอักเสบ, โรคข้ออักเสบ, โรคพาเจ็ต, กระดูกหัก, อาการบาดเจ็บจากการยืดหรือฉีกขาด, อาการกระดูกหลุด, มะเร็งกระดูก, มะเร็งกระดูกอิวิง, มะเร็งกระดูกอ่อน, มะเร็งผิวหนังชนิดเมลานิน, มะเร็งผิวหนังชนิดฐาน, มะเร็งผิวหนังชนิด squamous, ลิมโฟมาชนิดไม่ฮอดจ์กิ้น, ลิมโฟมาชนิดฮอดจ์กิ้น, มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง, มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน, เนื้องอกที่เกิดจากการผลิตเม็ดเลือด, โรคเนอโรบลาสโตมา, เนื้องอกวิลม์, โรคเรตินอบลาสโตมา, เนื้องอกในสมอง, โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ, โรคอักเสบของสมอง, โรคอัลไซเมอร์, โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน, อาการไมเกรน, อาการปวดหัว, อาการเวียนศีรษะ, อาการหน้ามืด, โรควิตกกังวล, โรคเกี่ยวกับการนอน, โรคปวดเรื้อรัง, โรคปวดเฉพาะที่เรื้อรัง, โรคกระเพาะอาหารอักเสบเฉียบพลัน, โรคปวดเชิงกราน, โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ, อาการเหงื่อออกมากเกินไป, โรคผิวหนังอักเสบ, โรคโรเซเชีย
แสดงโรคเพิ่มเติม ›8 การให้คะแนนและการรีวิวของโรงพยาบาลปทุมธานี
10 กย 2567 มาสอบถามเงื่ิอนไขการทำฝันปลอม ให้คนชรา ไม่ว่าใช้สิทธิ์ใด้ฟรีหรือจ่ายเงิน รอคิวเป็นปี แบบนี้ทำไปก็ต้องโยนทิ้ง เนื่องจากรูปปาก จะเปลี่ยนไป แก้ปัญหาง่ายนิดเดียวคือ ตั้งงป ค้างคิวแล้วส่งให้เอกชนประมูลไปทำ ปีต่อไปก็เช่นเดียวกัน เนื่องจากแผนกทันตกรรมโรงพยาบาลกำลังไม่เพียงพอ แบบนี้สนองนโยบายกระทรวงและช่วยเหลือ ปชช แท้จริงครับ ถ้าทำได้ ผอ เตรียมขยับขยายไปเป็นปลัดกระทรวงได้เลยครับ โรงพยาบาลปทุมธานี พัฒนาไปมากในทางที่ดีเช่น การส่งยาถึงบ้าน การนำข้อมูลเข้าหมอพร้อม รอแค่หมอและจนท ขยันพิมพ์ข้อมูลหน่อยนึง สู้ๆ ตามคำปฎิยานตนก่อนเข่ารับ ราชการ เหลืออีกหลายอย่างที่ต้องทำ ถ้าใช้บริหารจัดการที่ดีไม่เกินปี ก็สำเร็จครับ 28 มิย 2567 จนท คัดกรองทางเข้า ดีมากครับ แผนกเจาะเลือด ใช้ระบบ เรียกคิวด้วยจอภาพ ลื่นไหลดี มีการพัฒนาขึ้น ถ้า on line ได้จะสุดยอดครับ แผนกเจาะเลือดรอคิวประมาณ30 นาที ผู้ที่มีนัดตรวจชั้น2,3,5 ให้ไปที่ตู้ชมพู ชั้นนั้นๆเพื่อรับบัตรคิวใหม่ พยาบาลจะเรียกตามบัตรคิวนั้นๆครับ สามารถตรวจสอบว่าอีกนานแค่ไหนถึงคิวเราด้วยตัวอ่าน QR code ตามรูป ผมมารักษาที่นี้หลายแผนกหลายครั้ง สังเกตได้ว่าคนไข้นอกมาตั้งแต่เช้า และ จนท ก็มาเช้าเช่นกัน เพื่อจัดคิว คัดกรอง เพื่อ รอหมอตรวจ ซึ่งแน่นอน ตรวจแค่ 15 นาที ใช้เวลาทั้งขบวนการไม่ต่ำกว่า 5 ชม ต่อคนไข้ ส่วนหนึ่งเป็นผู้สูงอายุ ต้องมีคนพามา รอง วาดภาพดูว่ามีคนมาแออัดใน รพ กี่พันคน ต่อวัน พนักงาน พยาบาล ระดับคนทำงาน ก็มีความตั้งใจดี เพิ่งสังเกตุว่าส่วนที่ผู้ป่วยรอคิวไม่มีแอร์มีแต่พัดลม มีเฉพาะในห้องตรวจที่มี คนรอกันแออัดมากที่นั่งชิดกันอากาศร้อนมาก น่าจะเข้าข่ายที่อับอากาศ อันตรายสำหรับพนักงานและคนไข้ รพ ปทุมเป็น รพ ใหญ่ ขอวิงวร รัฐบาลจัดสรร งป ประมาณติดตั้งแอร์และค่าไฟฟ้าด้วยครับ ร้อนมากไม่มีแอร์ คนแออัด รัฐช่วยจัดงป ด่วนครับ คิวจริงเรียกรอ 4009 ตรวจจริง 4004 จอค้างที่ 4001 แก้ไขด้วยครับ ผมในฐานะมีประสบการณ์บริหารจัดการ และ lean process improvement เห็นว่า สามารถบริหารจัดการได้ดีกว่านี้ได้ เนื่องจาก บุคคลากร มีใจที่จะทำให้ดี คงต้อง วิงวร ท่านผู้บริหาร ระดับสูง ลงมาแก้ไข หรือหาผู้เชี่ยวชาญมาช่วย รพ ปทุมธานี จะเป็นรพ รัฐ ที่เทียบเท่าหรือดีกว่า รพ เอกชน ที่มีงปประมาณมากกว่าแน่นอน เพราะว่ารากฐานคือ บุคลากรดีเยี่ยมแบบ นี้ สู้ๆ ครับ ช่วงบ่ายนัดตรวจตา มายื่นคิวช่วงเช้า จนท ตีกลับ ให้มายื่นใหม่ช่วงบ่าย พอมายื่นช่วงบ่ายตรง มีคิวแซงไปแล้วแถมหยุดระบบหมายเลขคิว ใช้เรียกชื่อแทน น่าแปลกใจระบบหมายเลขคิวถือว่าโปร่งใสอธิบายได้ ทำให้คนไข้วางแผนจัดการได้ คนไข้ไม่ต้องมาแออัด แต่กลับใช้วิธีเรียกชื่ิอ ระบบ เทาๆแทน สงสัยผู้บริหารต้องใช้ระบบวินัยและส่ง จนท ตรวจการมาดูบ่ิอย เพื่อแก้ไขให้เป็นระบบที่ดี ปชช ชื่นชม ผมเสนอเพื่อโรงพยาบาลของเราไม่คิดทำร้ายนะครับ
ให้คนงานไป รพ.ถึงตั้งแต่ 8.30 รอตรวจจนติดเที่ยง รอตรวจจนถึง 16.07 รอรีบยาอีกเป็นชั่วโมง โทรไปจะสอบถาม ตัดสายเฉย รพ.ประจำจังหวัดเป็นแบบนี้ งง คะ ไม่อึดอัดกันเหรอคะคนไข้มารอตรวจมากมาย ทำงานช้าเหมือนมีหมอแค่ 1คน พยาบาล 1คน รพ.รัฐอยู่ได้เพราะภาษีประชาชนหรือเปล่าคะ ฝากช่วยพัฒนาด้วยนะคะ
Anyone who wants to get treatment here, please go get treatment somewhere else!!!! ห่วยแตกมาก การเต็มใจบริการ=0 ผู้บริหารควรพิจารณาการทำงานบุคลากรใหม่ทั้งหมด ตั้งแต่ยามไปยันหมอที่ตรวจวินิจฉัย โดยเฉพาะตอนจ่ายเงิน ควรเพิ่มให้มีหลายช่องบริการได้แล้ว ทุกคนต้องมาออที่เดียว จะไปรับยาเลยก็ไม่ได้ ต้องมารอใบเสร็จ ละพนักงานหน้าโคตรจะบุญไม่รับ เหมือนเข้าวัยทองขั้นหนักสุด ไม่เต็มใจก็แค่ไม่ต้องทำ ตราบในที่บุคลากรยังเป็นแบบนี้อยู่ ระบบสาธารณสุขไทยไม่ก้าวไปไหนหรอก ถ้ายังมีคนทำงานถั่วความเจริญอยู่แบบนี้ 👎👎👎👎👎👎👎👎👎👎👎
ห้องโถงใหญ่ที่ใช้คัดกรองคนไข้ควรติดแอร์ได้แล้วนะคะ เมืองไทยร้อนเกือบทั้งปี ฤดูหนาวมีไม่กี่วัน 🔥 Please.....s 🙏🏼
เกิดขึ้นจากเราเองคะพึ่งจะไปมา วันนี้เลยเวลา 02.28 นาที เราไม่สบายหนักมากเดินจะไม่ไหวร่างกายอ่อนเพลียมาก เราเดินไปห้องฉุกเฉินคะ เจอพยาบาล2 คน นั่งเล่นโทรศัพท์ เราป่วยแต่ให้เราเดินไปทำบัตรเอง เดินเรื่องเองขาเราไม่มีแรงเราก็เดินไป พอกลับมาให้วัดความดันเอง อะไรเองตัวเองนั่งคุยนั่งเล่นโทรศัพท์ ที่หน้าห้องฉุกเฉิน เป็นผู้หญิงผมสั้นสีทองน้ำตาล กับผมยาว สีดำ ใส่ชุดER สีน้ำเงิน บริการแย่พูดจาแย่มาก บอกรอนานหน่อยนะหมอมีคนเดียว ต้องรอ เราก็งงเอ้า หมอมีคนเดียว? โรงพยาบาลใหญ่โตมากๆ แต่หมอมีคนเดียว บอกให้เราเดินออกไปนั่งรอข้างนอก แต่ความรู้สึกเราตอนนั้นคือเหมือนกำลังจะตายแล้ว เพราะปวดหัวตัวร้อนมากๆ ขาไม่มีแรง แฟนเรา เลยให้ถ่ายรุปไว้ แล้วร้องเรียน เราเลยไปโรงพยาบาลอื่นทันทีตอนนั้นเราไม่ไหวแล้ว จะบอกว่าเราไปเสียเงินนะ เราไม่สบายเราต้องการ รักษา แต่โรงพยาบาลที่เราตั้งใจไป บริการได้แย่ขนาดนี้ แย่มากๆเท่าที่เคยไปโรงพยาบาลมาไม่เคยเจอพยาบาลที่ไหนแย่ ขนาดนี้ ขนาดห้องฉุกเฉินนะ ถ้าตายไปไง
คุณเป็นเจ้าของคลินิกนี้หรือไม่
แบ่งปันประสบการณ์ของคุณกับโรงพยาบาลปทุมธานี
หากคุณเคยใช้บริการคลินิกโรงพยาบาลปทุมธานีโปรดแบ่งปันประสบการณ์ของคุณ อธิบายรายละเอียดที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ว่าการเข้ารับการรักษาเป็นอย่างไร คุณได้รับการปฏิบัติอย่างไร คุณพอใจกับบริการหรือไม่ พนักงานเป็นมิตรกับคุณหรือไม่ คุณจ่ายเท่าไหร่ รายละเอียดทั้งหมดเหล่านี้จะช่วยให้ผู้อื่นเลือกคลินิกที่ดีที่สุดได้ เราตรวจสอบรีวิวแต่ละรายการด้วยตนเองเพื่อตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ส่งคำถามไปยังคลินิก
หากคุณมีคำถามใดๆ เกี่ยวกับคลินิก โรงพยาบาลปทุมธานี กรุณาส่งคำถามผ่านแบบฟอร์มด้านล่าง